วันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2557

วจีวิภาค:กิตก์ (สอนแต่งรูปวิเคราะห์ นามกิตก์)

...ถึงกับอ้วก เมื่อทุกคนได้เห็นหัวข้อบทความบทนี้ ๕๕๕ เมื่อก่อนผมก็เป็นครับ

(เดี๋ยวนี้ก็ยังเป็น หุหุ) ยอมรับว่ามันยากครับ แต่ยังไงเราก็ต้องผ่านมันไปให้ได้

วันจันทร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2557

วจีวิภาค:กิตก์ ( เทคนิคดูศัพท์ว่าลงปัจจัยอะไรในนามกิตก์ )

         ในที่สุด เราก็มาถึงบทเรียนที่น่าเบื่อที่สุด โฮะ โฮะ โฮะ... บทเรียนที่เต็มไปด้วยรูปวิเคราะห์มากมาย

ไม่รู้จะยากไปไหน แต่ไม่ต้องกลัว เพราะผมคนนี้แหละ จะอธิบายการตั้งรูปวิเคราะห์ให้เข้าใจง่ายๆเอง

วันเสาร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2557

วจีวิภาค:อาขยาต

          และแล้วก็มาถึงบทเรียนที่สำคัญบทหนึ่งของวิชาไยากรณ์ บทเรียนที่ว่าด้วยเรื่อง กิริยา

ที่ยุ่งยากมากพอสมควร เพราะมันประกอบไปด้วยส่วนประกอบเล็กๆน้อยถึง ๘ อย่าง ( วิภัตติ กาล บท

วจนะ บุรุษ ธาตุ วาจก ปัจจัย )

วจีวิภาค:อัพยยศัพท์

          ในส่วนของอัพยยศัพท์ ผมก็ยังคงยืนยันในคำพูดของผมนั่นก็คือ ไม่มีเทคนิคหรือทริปอะไรทั้งนั้น

วจีวิภาค:นาม

        ในส่วนของเรื่องนามนั้น ก็ไม่มีทริคอะไรเป็นพิเศษ(อีกแล้ว หุหุ) จะมีก็แต่เพียงคำแนะนำเล็กๆน้อยๆ

ในการเรียนเท่านั้นเอง ซึ่งจากประสบการณ์การเรียนบาลีมาอย่างยาวนาน ถ้าเราจำวิธีแจกวิภัตติตาม

แบบในการันต์ไม่ได้ ลืมคำแปลอายตนิบาตประจำิภัตตินั้นๆ ลืมวิธีแจกศัพท์เฉพาะ รวมไปถึงการใช้

ศัพท์เฉพาะ เราก็ไม่สามารถที่จะสอบผ่านในสนามหลวงได้เลย

วันศุกร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557

อักขรวิธี:สนธิ

อักขรวิธี:สมัญญาภิธาน

          ในส่วนของสมัญญาภิธาน เนื้อหาทั้งหมดต้องท่องจำให้ได้ทั้งหมด เพราะเป็นส่วนสำคัญมากถึง

มากที่สุด ในส่วนตรงนี้อาจจะมีเนื้อหาจุกจิกนิดหน่อย ยังไงก็อดทนท่องไปก็แล้วกัน สู้ สู้ !!!

โครงสร้างบาลีไวยากรณ์

คุยกันก่อน

         ก่อนที่จะเข้าสู่เนื้อหาบทเรียนในครั้งนี้ ผมในฐานะอาจารย์ก็อยากจะทำความเข้าใจกับผู้สนใจ

ศึกษาสักเล็กน้อย เนื่องจากเนื้อหาที่ท่านจะได้อ่านต่อไปนี้ อาจมีภาพ เสียง หรือเนื้อหา ที่ต้องใช้

วิจารณญาณในการอ่าน ผู้อ่านที่มีวุฒิภาวะไม่มากพอ ผู้ปกครองควรให้คำแนะนำ